วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ข้อมูลเพื่อการสืบค้นการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ จังหวัดชัยนาท ส.1 - ส.3


ส1.สืบค้น

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 


ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวสินค้า
ชื่อสินค้า : กล้วยอบเนย
ประเภท : ของบริโภค
สถานะผลิตภัณฑ์ : กล้วยฉาบ
วิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ : รับประทาน
สี :น้ำตาลออกเหลือง
ขนาด/มิติ : กว้าง 9 cm. ยาว 9 cm. สูง 15 cm
ผลิตโดย : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน ต.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท
ที่อยู่/เบอร์โทร : กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน.บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท T.087-156-3677
ส่วนประกอบ : กล้วย / น้ำตาล/เนยสด
รูปแบบการขาย : ขายปลีก-ส่ง
ราคา : 20 บาท
ข้อมูลฉลาก
1. ที่อยู่ของกลุ่มผู้ผลิต : ผลิตภัณฑ์กลุ่มแม่บ้านเกษตร ม.3 บ้านเชี่ยน ต.บ้านเชี่ยน อ.หันคา
    จ.ชัยนาท T.087-156-3677
2. ชื่อสินค้า : กล้วยอบเนย (หวาน กรอบ อร่อย)
3. ผู้สนับสนุน : ก.ศ.น. หันคา,พัฒนาชุมชน,เทศบาลบ้านเชี่ยน,สำนักงานเกษตร,
    พัฒนาสังคมหน่วยที่9


ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 

การวิเคราะห์ข้อมูลสินค้า

1.ป้ายสินค้าเป็นสติ๊กเกอร์ใส ทำให้มองเห็นฉลากสินค้าได้ยาก
2.เวลาแกะสินค้ารับประทาน ยุ่งยากเกินไปเพราะฉลากตัวบรรจุภัณฑ์มีมากขึ้น
3.รายละเอียดสินค้ามีขนาดเล็กทำให้มองไม่ชัดเจน
4.ข้อมูลโภชนาการมีขนาดเล็กทำให้มองเห็นได้ยาก

มูดบอร์ด
ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 




ส.2 การตั้งสมมุติฐาน


แนวคิด:  มาจากแรงบันดาลใจในการคิดรสชาติใหม่ เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากเดิมที่เป็นอยู่ โดยใช้ชื่อ แบรนด์ BananaBom จากความคิดที่ว่า ให้กล้วยที่กินเข้าไปรสชาติเข้มข้นจนเหมือนระเบิดที่แตกกระจายในปาก


ออกแบบสเก็ตแบบร่าง

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 



ออกแบบโลโก้ฉลากสินค้า




ออกแบบอัตลักษณ์


ออกแบบ Sketch up

ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 


มูดบอร์ด

 ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร  






ส.3 สรุปผล


ออกแบบกล่องรูแปแบบต่างๆ




 ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 



ภาพตัวงานจริง
 ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร


มูดบอร์ด
 ที่มารูปภาพ: นาย ธนากร  วรสาร 








วันเสาร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2557

การออกแบบและพัฒนาสินค้า




ส.1 สืบค้น 


1.jpg


กล้วยอบเนย

ขุ้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวสินค้า
ชื่อสินค้า กล้วยอบเนย 
ประเภท บริโภค
สถานะผลิตภัณฑ์ รับประทาน
สี น้ำตาลออกเหลือง
ขนาด/มิติ กว้าง 9 ซม. ยาว 9 ซม. สูง 15 ซม.
ผลิตโดย กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ม.3 บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท 
ที่อยู่  กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ม.3 บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท
เบอร์ติดต่อ 087-158-3677

ส่วนประกอบ กล้วย  น้ำตาล เนย 
รูปแบบการขาย ขายปลีก - ส่ง ราคา 12 บาท
ที่อยู่ของกลุ่มผู้ผลิต กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร ม.3 บ้านเชี่ยน อ.หันคา จ.ชัยนาท  
โทร.087-158-3677


rr1.jpg

การวิเคราะห์ปัญหาบรรจุภัณฑ์สินค้า

1.ป้ายสินค้าทำจากกระดาษ A4 ปริ้นสีธรรมดา ซึ่งง่ายต่อการเสียหายจากการขนส่งและเก็บรักษา สีอาจดูจางลงเป็นปัญหาต่อการมองเห็น
2.ตัวผนึกสินค้าเป็นลูกแม็ค อาจหลุดล่วงลงไปในตัวสินค้าเป็นอัตรายต่อผู้บริโภค
3.ป้ายและรายละเอียดสินค้ามีขนาดเล็กตัวอักษรไม่ชัดเจน ทำให้มองเห็นข้อมูลของผู้ผลิตได้ยาก
4.บบรจุภัณฑ์เป็ฯซองพลาสติกใส ไม่มีความแข็งแรง เวลาขนส่งสินค้าอาจทำให้ตัวสินค้าแตกหักได้ง่าย เนื่องจากสินค้าเป็นกล้วยอบเนย


ส.2 สมมุติฐาน


ออกแบบสเก็ตแบบร่าง

ออกแบบโลโก้กลุ่มแม่บ้านบ้านเชี่ยน

ออกแบบโลโก้ฉลากสินค้า


ภาพร่างออกแบบ sketch up 

ส.3 สรุป


ออกแบบกล่องรูแปแบบต่างๆ


ตัวผลิตภัณฑ์จริง

มูลบอร์ด

วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ สรุปแปลข่าวสาร

Emotions Cup

Design agency: Backbone branding

Art director: Stepan Azaryan
Designer: Karen Gevorgyan
Illustrator: Narine Manvelyan
Client: Gawatt
Type Of Work: Commercial Work
Country: Armenia


- See more at: http://www.packagingoftheworld.com/2014/08/emotions-cup.html#sthash.AkibCr8l.dpuf




ที่มารูปภาพ :

หน่วยงานการออกแบบ: หัวใจการสร้างตราสินค้า 
ผู้อำนวยการศิลปะ: Stepan Azaryan 
ออกแบบ: Karen Gevorgyan 
การ์ตูน: Narine Manvelyan 
ลูกค้า: Gawatt 
ประเภทของงาน: งานเชิงพาณิชย์ 
ประเทศ: อาร์เมเนีย
- ดูเพิ่มเติมได้ที่: http://www.packagingoftheworld.com/2014/08/emotions-cup.html#sthash.AkibCr8l.dpuf


Customise the faces by your mood and let them lead your emotions. Above the main identity of Gawatt take-out coffee shop , we had a task of creating series of souvenir cups. We came up with an idea of cups with different emotions. Customers can change the face expression of their cup by relating to their current 
mood .

ปรับแต่งใบหน้าโดยอารมณ์ของคุณและให้พวกเขานำไปสู่??อารมณ์ของคุณ ด้านบนตัวหลักของ Gawatt ร้านกาแฟจะออกเรามีงานของการสร้างชุดของถ้วยของที่ระลึก เรามากับความคิดของถ้วยกับอารมณ์ที่แตกต่างกัน ลูกค้าสามารถเปลี่ยนการแสดงออกใบหน้าของถ้วยของพวกเขาโดยที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ปัจจุบันของพวกเขา 
- ดูเพิ่มเติมได้ที่: http://www.packagingoftheworld.com/2014/08/emotions-cup.html#sthash.AkibCr8l.dpuf







ที่มารูปภาพ :



- ที่มาแหล่งข้อมูล:


Gutfried (Concept)

ที่มารูปภาพ : 
Designed by Baita Design Studio, Brazil.

Gutfried is a traditional German delicatessen manufacturer, searching for an innovative packaging design for the poultry sausage in order to differentiate from the competitors. 

The new packaging concept should only be for the outer packaging of the product and should be innovative, modern, high quality, visually appealing, attention-grabbing and practical while being environmentally-friend and resource-saving packaging materials. 

A plastic cup in the form of the product, with a cap so the once opened sausage keeps fresh for a longer time. 


ออกแบบโดย Baita ดีไซน์สตูดิโอ, ประเทศบราซิล

Gutfried เป็นผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูปเยอรมันแบบดั้งเดิมหาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นนวัตกรรมสำหรับไส้กรอกเนื้อสัตว์ปีกเพื่อที่จะแยกความแตกต่างจากคู่แข่ง 

แนวคิดบรรจุภัณฑ์ใหม่ควรจะมีเพียงสำหรับบรรจุภัณฑ์ภายนอกของผลิตภัณฑ์และควรจะเป็นนวัตกรรมที่ทันสมัย​​ที่มีคุณภาพสูงดึงดูดสายตาให้ความสนใจโลภและการปฏิบัติในขณะที่สิ่งแวดล้อมเพื่อนและวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่ประหยัดทรัพยากร 

ถ้วยพลาสติกในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ที่มีฝาดังนั้นไส้กรอกเมื่อเปิดช่วยให้สดเป็นเวลานาน





ที่มารูปภาพ : 

ที่มารูปภาพ : 
ที่มารูปภาพ : 

- ที่มาแหล่งข้อมูล:






Packaging Trendsetting, One Eighty Cream for Men


ที่มารูปภาพ : 



By G+ Author: Elizabeth Sanchez.

Winner of the Stora Enso – Recreate Packaging Contest 2012, this package was design by Finnish Nikolo Kerimov, with the help of Juho Kruskopf and Arttu Kuismaf. Kerimov has the following written on his Behance profile about the project:



The packaging is designed to be a sculptural, aesthetic and functional. By using the product, the packaging shapes into a different forms. Geometrical shapes create interesting patterns that live through the product.Jury’s comments: “This entry has huge business potential. It can be used for all kinds of product families, and can replace very big volumes of non-recyclable materials. The use of material is thoughtful, and the functionality and aesthetics of the texture make sense. Not revolutionary, but simple, OneEighty stands out as a production-ready design with extremely wide range of possible end use applications.”

I’ve decided I don’t really need to explain to you why this packaging is genius…so I wont. 


Read more at 



โดย G + ผู้เขียน: เอลิซาเบชี 

ผู้ชนะของ Stora Enso - สร้างการประกวดบรรจุภัณฑ์ 2012, แพคเกจนี้คือการออกแบบโดยฟินแลนด์ Nikolo Kerimov ด้วยความช่วยเหลือของ Juho Kruskopf และ Arttu Kuismaf Kerimov มีดังต่อไปเขียนในรายละเอียด Behance ของเขาเกี่ยวกับโครงการนี้

บรรจุภัณฑ์ที่ได้รับการออกแบบให้เป็นประติมากรรมที่สวยงามและการทำงาน โดยการใช้ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์รูปทรงเป็นรูปแบบที่แตกต่างกัน รูปทรงเรขาคณิตสร้างรูปแบบที่น่าสนใจที่มีชีวิตอยู่ผ่านความคิดเห็น product.Jury ว่า "รายการนี้มีศักยภาพทางธุรกิจขนาดใหญ่ มันสามารถใช้สำหรับทุกชนิดของตระกูลผลิตภัณฑ์และสามารถแทนที่ไดรฟ์ขนาดใหญ่มากของวัสดุที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้ การใช้วัสดุที่มีความคิดและการทำงานและความสวยงามของพื้นผิวให้ความรู้สึก ไม่ปฏิวัติ แต่ง่าย OneEighty ยืนออกการออกแบบการผลิตพร้อมกับหลากหลายมากของการใช้งานการใช้งานที่เป็นไปได้ "

ฉันได้ตัดสินใจที่ฉันไม่จำเป็นต้องอธิบายให้คุณว่าทำไมบรรจุภัณฑ์นี้เป็นอัจฉริยะ ... ดังนั้นฉันเคยชิน




ที่มารูปภาพ : 



ที่มารูปภาพ : 

ที่มารูปภาพ : 
ที่มารูปภาพ : 


ที่มารูปภาพ : 




วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ กิจกรรมการสืบค้น


การออกแบบกราฟิกสำหรับรรจุภัณฑ์
            
          การออกแบบกราฟิกหมายถึง การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้าง บรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจในอันที่จะให้ผลทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูดความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ 
ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิต ด้วยการใช้วิธี การออกแบบ การจัดวางรูป ตัวอักษร ถ้อยคำ โฆษณา เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ทางการค้า และอาศัยหลักศิลปะการจัดภาพให้เกิดการประสานกลมกลืน กันอย่างสวยงาม ตาม

วัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้

      การออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์ได้ทั้งลักษณะ 2 มิติ บนพื้นผิวแผ่นราบของวัสดุ เช่น กระดาษ แผ่นพลาสติก แผ่นโลหะอาบดีบุก หรืออลูมิเนียม โฟม ฯลฯ ก่อนนำวัตถุต่าง ๆ เหล่านี้ประกอบกัน เป็นรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ ส่วนในลักษณะ 3 มิติก็อาจทำได้ 2 กรณีคือ ทำเป็นแผ่นฉลาก ( label) หรือแผ่นป้าย ที่นำไปติดบนแผ่นบรรจุภัณฑ์ประเภท rigid forms ที่ขึ้นรูปมาเป็นภาชนะบรรจุสำเร็จมาแล้ว หรืออาจจะสร้างสรรค์ บนผิวภาชนะบรรจุ รูปทรง 3 มิติ โดยตรงก็ได้เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติกเป็นต้น ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟิก บรรจุภัณฑ์นี้ส่วนใหญ่มักถือตามเกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก



ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

      การบรรจุภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปัจจุบันที่การผลิตสินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสำคัญกับผู้บริโภค (Consumer Oriented) และจะได้เห็นว่าการบรรจุภัณฑ์มีบทบาทมากขึ้นเพราะลำพังตัวสินค้าเองไม่มีนวัตกรรม (Innvoation) หรือการพัฒนาอะไรใหม่อีกแล้ว ฉีกแนวไม่ออกเพราะได้มีการวิจัยพัฒนากันมานานจนถึงขั้นสุดยอดแล้ว จึงต้องมาเน้นกันที่บรรจุภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ (Packaging) บรรจุภัณฑ์กับหีบห่อ (Package)


ความหมายของการบรรจุภัณฑ์หรือการบรรจุหีบห่อ (Packaging) ได้มีผู้ให้คำจำกัดความไว้มากมายพอสรุปได้ดังนี้
1. Packaging หมายถึง งานเทคนิคที่ต้องอาศัยความชำนาญ ประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ ในอันที่จะออกแบบและผลิตหีบห่อให้มีความเหมาะสมกับสินค้าที่ผลิตขึ้นมา ให้ความคุ้มครองสินค้า ห่อหุ้มสินค้าตลอดจนประโยชน์ใช้สอย อาทิเช่น ความสะดวกสบายในการหอบหิ้ว พกพาหรือการใช้ เป็นต้น
2. Packaging หมายถึง กลุ่มของกิจกรรมในการวางแผนเกี่ยวกับการออกแบบ การผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งหุ้มห่อสินค้าบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับฉลาก (Label) และตรายี่ห้อ (Brand name)
3. Packaging หมายถึง ผลรวมของศาสตร์ (Science) ศิลป์ (Art) และเทคโนโลยีของการออกแบบ การผลิตบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้า เพื่อการขนส่งและการขายโดยเสียค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม
4. Packaging หมายถึง การใช้เทคโนโลยีและเศรษฐศาสตร์เพื่อหาวิธีการรักษาสภาพเดิมของสินค้าจนกว่าจะถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย เพื่อให้ยอดขายมากที่สุดและต้นทุนต่ำสุด
5. Packaging หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและผลิตรูปร่างหน้าตาของภาชนะบรรจุ สิ่งห่อหุ้มตัวผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์
6. Packaging เป็นทั้งศิลปะและวิทยาศาสตร์ ซึ่งถูกมองในหลายแง่โดยบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตสินค้า กล่าวคือ ฝ่ายเทคนิคจะคิดถึงปฏิกิริยาระหว่างภาชนะบรรจุกับผลิตภัณฑ์และสิ่งแวดล้อม ฝ่ายผลิตจะพิจารณาต้นทุนและประสิทธิภาพของระบบการบรรจุ ฝ่ายจัดซื้อจะคำนึงถึงต้นทุนของวัสดุทางการบรรจุ และฝ่ายขายจะเน้นถึงรูปแบบและสีสันที่สะดุดตา ซึ่งจะช่วยในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ ด้วยเหตุนี้ Packaging ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมจะเกิดขึ้นได้จากการประนีประนอมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ภาชนะบรรจุซึ่งมีน้ำหนักเบาและราคาต้นทุนต่ำ แต่ในขณะเดียวกันมีรูปแบบสวยงาม และให้ความคุ้มครองอย่างเพียงพอแก่ผลิตภัณฑ์ภายในได้
7. Packaging หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดในขบวนการทางตลาดที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบสร้างสรรค์ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อให้กับผลิตภัณฑ์
8. Packaging หมายถึง การนำเอาวัสดุ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็นภาชนะหุ้มห่อสินค้า เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยมีความแข็งแรง สวยงาม ได้สัดส่วนที่ถูกต้อง สร้างภาพพจน์ที่ดี มีภาษาในการติดต่อสื่อสาร และทำให้เกิดผลความพึงพอใจจากผู้ซื้อสินค้า

ส่วนความหมายของ “ หีบห่อ ” “ บรรจุภัณฑ์ ” หรือ “ ภาชนะบรรจุ ” (Package) มีผู้ให้คำจำกัดความไว้มากมายเช่นกัน ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

1. Package หมายถึง สิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุภัณฑ์ รวมทั้งภาชนะที่ใช้เพื่อการขนส่งผลิตภัณฑ์จากแหล่งผู้ผลิตไปยังแหล่งผู้บริโภค หรือแหล่งใช้ประโยชน์ หรือวัตถุประสงค์เบื้องต้นในการป้องกันหรือรักษาผลิตภัณฑ์ ให้คงสภาพตลอดจนคุณภาพใกล้เคียงกันกับเมื่อแรกผลิตให้มากที่สุด
2. Package หมายถึง สิ่งที่ทำหน้าที่รองรับหรือหุ้มผลิตภัณฑ์ เพื่อทำหน้าที่ป้องกันผลิตภัณฑ์จากความเสียหายต่าง ๆ ช่วยอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ในการขนส่งและการเก็บรักษา ช่วยกระตุ้นการซื้อตลอดจนแจ้งรายละเอียดของผลิตภัณฑ์
นอกจากนี้ยังมีคำอีก 2 คำ ที่เกี่ยวข้องกับการบรรจุภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ คือ
1. การบรรจุภัณฑ์ (Packing) หมายถึง วิธีการบรรจุผลิตภัณฑ์ โดยการห่อหุ้ม หรือใส่ลงในบรรจุภัณฑ์ปิด หรือสิ่งอื่น ๆ ที่ปลอดภัย
2. ตู้ขนส่งสินค้า (Container) หมายถึง ตู้ขนาดใหญ่ที่ใช้ขนส่งสินค้า ซึ่งมีขนาดและรูปแบบแตกต่างกันตามวิธีการขนส่ง ( ทางเรือหรือทางอากาศ ) โดยทั่วไปจะมีขนาดมาตรฐานเป็นสากล คำว่า “ Container ” นี้อาจใช้ในความหมายที่ใส่ของเพื่อการขนส่งและจัดจำหน่าย ในปัจจุบัน

บรรจุภัณฑ์เป็นตัวแทนของกระบวนการส่งเสริมการขายทางด้านการตลาด ณ จุดขายที่สามารถจับต้องได้ ทำหน้าที่เป็นสื่อโฆษณาได้อย่างดีเยี่ยม ณ จุดขาย รูปทรงของบรรจุภัณฑ์เปรียบได้กับตัวโครงร่างกายของมนุษย์ สีที่ออกแบบบรรจุภัณฑ์เปรียบเสมือนผิวหนังของมนุษย์ คำบรรยายบนบรรจุภัณฑ์เปรียบได้กับปากที่กล่าวแจ้งแถลงสรรพคุณ การออกแบบอาจจะเขียนเป็นสมการอย่างง่าย ๆ ได้ดังนี้ การออกแบบ = คำบรรยาย + สัญลักษณ์ + ภาพพจน์ เนื่องจากการออกแบบภาพพจน์เป็นศิลปะอย่างหนึ่งซึ่งอาจแสดงออกได้ด้วย จุด เส้น สี รูปวาด และรูปถ่าย ผสมผสานกันออกมาเป็นพาณิชย์ศิลป์บนบรรจุภัณฑ์ ด้วยหลักการง่าย ๆ 4 ประการ คือ SAFE ซึ่งมีความหมายว่า



Simple  เข้าใจง่ายสบายตา
           A Aesthetic  มีความสวยงาม ชวนมอง
                                               F Function  ใช้งานได้ง่าย สะดวก ต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่เหมาะสม
                 E Economic  ด้านเศรษฐกิจ และการตลาด



การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ยังมีบทบาทช่วยเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ทางด้านการตลาด ดังนี้

ตามที่ได้อธิบายแล้วว่าบรรจุภัณฑ์มีบทบาทในส่วนผสมการตลาดในการทำหน้าที่เสริมกิจกรรมการตลาดในแต่ละขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตผลิตภัณฑ์ รายละเอียดปลีกย่อยในการช่วยเสริมกิจกรรมต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้

1. การใช้โฆษณา บรรจุภัณฑ์จำต้องออกแบบให้จำได้ง่าย ณ จุดขาย หลังจากกลุ่มเป้าหมายได้เห็นหรือฟังโฆษณามาแล้ว ในกลยุทธ์นี้บรรจุภัณฑ์มักจะต้องเด่นกว่าคู่แข่งขันหรือมีกราฟฟิกที่สะดุดตาโดยไม่ต้องให้กลุ่มเป้าหมายมาองหา ณ จุดขาย

  2. การเพิ่มช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่ายที่เปลี่ยนแปลงไปอาจจำเป็นต้องมีการออกแบบปริมาณสินค้าต่อหน่วยขนส่งใหม่เพื่อลดค่าใช้จ่าย หรือมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับจุดขายใหม่ การเพิ่มหิ้ง ณ จุดขายที่เรียกว่า POP (Point of Purchase) อาจมีส่วนช่วยส่งเสริมการขายเมื่อเปิดช่องทางการจัดจำหน่ายใหม่


 3. เจาะตลาดใหม่ มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ในการเจาะตลาดใหม่หรือกลุ่มเป้าหมายใหม่ ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องเปลี่ยนตราสินค้าใหม่อีกด้วย
4. ผลิตภัณฑ์ใหม่ ถ้าผลิตภัณฑ์ใหม่เป็นสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้าเก่า เช่น เปลี่ยนจากการขายกล้วยตากแบบเก่า เพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่มาเป็นกล้วยตากชุบน้ำผึ้ง อาจใช้บรรจุภัณฑ์เก่าแต่เปลี่ยนสีใหม่เพื่อแสดงความสัมพันธ์กับสินค้าเดิมหรืออาจใช้เทคนิคของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ยูนิฟอร์มดังจะกล่าวต่อไปในบทนี้ แต่ในกรณีที่เป็นสินค้าใหม่ถอดด้ามจำต้องออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่หมด แต่อาจคงตราสินค้าและรูปแบบเดิมไว้เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้ากลุ่มที่เคยเป็นลูกค้าประจำของสินค้าเดิม


5. การส่งเสริมการขาย จำเป็นอย่างยิ่งต้องมีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ เพื่อเน้นให้ผู้บริโภคทราบว่ามีการเพิ่มปริมาณสินค้า การลดราคาสินค้า หรือการแถมสินค้า รายละเอียดบนบรรจุภัณฑ์ย่อมมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้บริโภคมีความอยากซื้อมากขึ้น


6. การใช้ตราสินค้า เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีเพื่อสร้างความทรงจำที่ดีต่อสินค้าบรรจุภัณฑ์ที่มีตราสินค้าใหม่ควรจะได้รับการออกแบบใหม่ด้วยการเน้นตราสินค้า รายละเอียดในเรื่องนี้จะได้กล่าวต่อไปในหัวข้อตราสินค้า


7. เปลี่ยนขนาดหรือรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ โดยปกติสินค้าแต่ละชนิดมีวัฏจักรชีวิตของตัวมันเอง (Product Life Cycle) เมื่อถึงวัฏจักรชีวิตช่วงหนึ่ง ๆ จำเป็นต้องมีการเปลี่ยนโฉมของบรรจุภัณฑ์เพื่อยืดอายุของวัฏจักร ในบางกรณี การเปลี่ยนขนาดอาจเกิดจากนวัตกรรมใหม่ทางด้านบรรจุภัณฑ์ เช่น การเลือกใช้วัสดุใหม่จึงมีการเปลี่ยนรูปทรงหรือขนาด ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุใดก็ตามมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อรักษาหรือขยายส่วนแบ่งการตลาด

....................................................................................................................................................................

สรุป การออกแบบกราฟฟิกคือ การสร้างสรรค์ลักษณะ ส่วนประกอบภายนอกของโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ ให้สามารถสื่อสาร สื่อความหมาย ความเข้าใจ ในอันที่จะให้ผล ทางจิตวิทยา ต่อผู้อุปโภค บริโภคเช่น ให้ผลในการดึงดูด ความสนใจ การให้มโนภาพถึงสรรพคุณ ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ ยี่ห้อผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตด้วย ซึ่งลักษณะของการออกแบบกราฟฟิกบรรจุภัณฑ์นี้ส่วนใหญ่มักถือตามเกณฑ์ของเทคนิคการพิมพ์ในระบบต่างๆเป็นหลัก


สรุป ความหมายของการบรรจุภัณฑ์ เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทางการตลาด โดยเฉพาะปัจจุบันที่การผลิตสินค้า หรือบริการได้เน้นหรือให้ความสำคัญกับผู้บริโภคโดย เน้นกันที่บรรจุภัณฑ์กับการบรรจุหีบห่อ เพื่อป้องกันสินค้าจาก มด แมลง ที่จะทำลายสินค้า และช่วยส่งเสริมการขาย


อ้างอิงถึงไฟล์เอกสารหน้านี้

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์.
เว็บไซต์ที่เข้าไปศึกษา เข้าถึงได้ที่ http://www.mew6.com/composer/package/package_9.php
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (PACKAGINGDESIGN) 
เว็บไซต์ที่เข้าไปศึกษา เข้าถึงได้ที่  http://www.mew6.com/composer/package/package_9.php